เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ
สภาร่างรัฐธรรมนูญ
ได้วางแนวทางการร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้
โดยยึดตามแนวทางและแก้ไขจุดอ่อนของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เพื่อให้ประชาชนได้รับประโยชน์จากรัฐธรรมนูญนี้
4 ประการ คือ
1.
คุ้มครอง
ส่งเสริม ขยายสิทธิและเสรีภาพ ของประชาชน
2.
ลดการผูกขาดอำนาจรัฐ
และเพิ่มอำนาจประชาชน
3.
การเมืองมีความโปร่งใส
มีคุณธรรม และจริยธรรม
4.
ทำให้องค์กรตรวจสอบมีความอิสระ
เข้มแข็ง และทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550
ปกหนังสือร่างรัฐธรรมนูญ
ที่มีการแจกจ่ายตามบ้าน
- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับนี้ มีเนื้อหาสาระตามหมวดต่างๆ ดังต่อไปนี้
- คำปรารภ
- หมวด 1 บททั่วไป (มาตรา 1-7)
- หมวด 2 พระมหากษัตริย์ (มาตรา 8-25)
- หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย (มาตรา 26-69)
- หมวด 4 หน้าที่ของชนชาวไทย (มาตรา 70-74)
- หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ (มาตรา 75-87)
- หมวด 6 รัฐสภา (มาตรา 88-162)
- หมวด 7 การมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน (มาตรา 163-165)
- หมวด 8 การเงิน การคลัง และงบประมาณ (มาตรา 166-170)
- หมวด 9 คณะรัฐมนตรี (มาตรา 171-196)
- หมวด 10 ศาล (มาตรา 197-228)
- หมวด 11 องค์กรตามรัฐธรรมนูญ (มาตรา 229-258)
- หมวด 12 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ (มาตรา 259-278)
- หมวด 13 จริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ (มาตรา 279-280)
- หมวด 14 การปกครองส่วนท้องถิ่น (มาตรา 281-290)
- หมวด 15 การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ (มาตรา 291)
- บทเฉพาะกาล (มาตรา 292-309)
เป็นฉบับที่
18 ของรัฐธรรมนูญ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น